ติดตั้ง windows 10 บน raspberry pi2

20 Jun 2016

Share to:

สวัสดีครับ ในบทความนี้ผมจะสอนวิธีการติดตั้ง windows 10 บน raspberry pi2 โดยผมจะแบ่งออกเป็นสองส่วนดังนี้

  • ติดตั้ง Windows 10 IoT Core tools
  • ติดตั้ง Windows 10 IoT Core ลงใน SD Card

ติดตั้ง Windows 10 IoT Core tools

วิธีติดตั้งก็เริ่มต้นด้วยการ download Windows 10 IoT Core tools ที่เว็บ ---> ms-iot.github.io/content/en-US/Downloads.htm เมื่อ download มาเรียบร้อย จะได้ไฟล์ IOT Core RPi.ISO มา ให้เราดับเบิลคลิ๊กที่ไฟล์นั้น

Image

install Windows 10 IoT Core ระบบจะ mount image ให้ออกมาเป็น drive โดยอัตโนมัติ ให้เข้าไปที่ drive นั้น แล้วจะเจอไฟล์ Windows_10_IoT_Core_RPi2.msi

Image

install Windows 10 IoT Core ดับเบิลคลิ๊กไฟล์ Windows_10_IoT_Core_RPi2.msi เพื่อติดตั้ง เมื่อติดตั้งเสร็จเรียบร้อยจะได้ไฟล์ flash.ffu อยู่ใน path: C:\Program Files (x86)\Microsoft IoT\FFU\RaspberryPi2

Image

install Windows 10 IoT Core

ติดตั้ง Windows 10 IoT Core ลงใน SD Card

ใส่ SD Card ที่ต้องการติดตั้ง เปิดโปรแกรม Use IoTCoreImageHelper.exe โดยไปที่เมนู Start แล้วค้นหา “Use IoTCoreImageHelper”

Image

install Windows 10 IoT Core ในหัวข้อ Select the SD card ให้เลือก Drive ของ SD Card ที่เราต้องการจะติดตั้ง Windows 10 IoT Core ส่วนในหัวข้อ Select the image (.ffu) ให้เราไปเลือกที่ path:  C:\Program Files (x86)\Microsoft IoT\FFU\RaspberryPi2 กด Flash ได้เลย

Image

install Windows 10 IoT Core หลังจากนี้ก็รอให้ระบบทํางานจนเสร็จ

Image

install Windows 10 IoT Core

Image

install Windows 10 IoT Core เมื่อระบบเขียนข้อมูลลง SD Card เสร็จแล้ว สามารถนํา SD Card ไปใส่ใน Raspberry Pi2 แล้ว boot เครื่องได้เลย

Image

install Windows 10 IoT Core

ข้อมูลจาก microsoft

Suggestion blogs

sprintf ในภาษา c, c++

sprintf เป็น function สําหรับ ใส่ String ในตัวแปร ตาม format ที่กําหนดรูปแบบการใช้งานsprintf(var, format, arg);Parameters

Docker คืออะไร

Docker เป็น engine ที่รันบน Linux ตัวนึงที่จะจําลองสภาพแวดล้อมของเครื่อง server ขึ้นมา คล้ายๆกับพวก VirtualBox, VMWare หรือ Virtual Machine ซึ่ง Docker จะแตกต่างจาก VM ตัวอื่นๆคือ **จะทําการจําลองสภาพแวดล้อมของ server ขึ้นมาบน OS เดิม **แต่ VM อื่นๆ จะจําลองระบบขึ้นมาทั้ง OS เลย ดังรูป

LDR ตัวต้านทานปรับค่าตามแสง

LDR (Light Dependent Resistor) คือตัวต้านทานปรับค่าตามแสง ตัวต้านทานชนิดนี้สามารถเปลี่ยนความนําไฟฟ้าได้เมื่อมีแสงมาตกกระทบ โฟโตรีซีสเตอร์ ( Photo  Resistor)   หรือ โฟโตคอนดัคเตอร์   (Photo Conductor)   เป็นตัวต้านทานที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำ (Semiconductor)   ประเภทแคดเมี่ยมซัลไฟด์ ( Cds : Cadmium Sulfide)   หรือแคดเมี่ยมซิลินายส์ ( CdSe : Cadmium Selenide)   ซึ่งทั้งสองตัวนี้ก็เป็นสารประเภทกึ่งตัวนำ เอามาฉาบลงบนแผ่นเซรามิกที่ใช้เป็นฐานรองแล้วต่อขาจากสารที่ฉาบ ไว้ออกมา โครงสร้างของ LDR


Copyright © 2019 - 2024 thiti.dev |  v1.41.0 |  Privacy policy | 

Build with ❤️ and Astro.

Github profile   Linkedin profile   Instagram   X profile   Youtube channel   Telegram   Email contact   วงแหวนเว็บ