ตัวต้านทานจะแบงตามประเภทการใช้งานได้สองแบบคือ
วิธีการอ่านค่าก็จะแตกต่างกัน
axial-resistor การระบุค่าของตัวต้านทานแบบ Axial Resistor จะระบุเป็นแถบสีคาด โดยจะแบ่งรูปแบบการคาดแถบสีออกเป็น 3 แบบดังนี้
วิธีอ่านจะขึ้นอยู่ค่าของสี และตำแหน่องของสี ดูได้จากตารางด้านล่าง
read-resistor
SMD Resistor การระบุค่าของตัวต้านทานประเภท SMD resistor จะระบุเป็นตัวเลข โดยส่วยใหญ่แล้วจะพบมากที่สุด 2 แบบคือ
หลักการอ่านของทั้งสองแบบคือ ตัวเลขหลักสุดท้าย จะบอกจำนวนเลขศูนย์ที่ต่อท้าย หรือ ตัวคูณ 10 ยกกำลัง แบบเดียวกับการอ่านรหัสสี แต่อันนี้บอกเป็นตัวเลขมาเลยไม่ต้องแปลให้เสียเวลา เลขข้างหน้าที่เหลือ 2 หรือ 3 หลักก็เอามาเรียงต่อกันเหมือนแถบสี มีข้อยกเว้นอยู่ คือ กรณีที่ Resistor ตัวนั้นมีค่าน้อยกว่า 10 โอห์มจะไม่มีตัวคูณ แต่จะใช้ตัวอักษร R เข้ามาปนด้วยและจะเปลี่ยนวิธีการอ่านใหม่โดยอ่านเรียงตัวเลขทั้งหมดตรงตัว R ให้แทนด้วยจุดหรืออ่านว่าจุด แทน เช่น
กฎของโอห์มกฎของโอห์ม คือสูตรการคํานวณ ความสัมพันธ์ ระหว่าง กระแสไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า กล่าวคือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวนำใดๆ แปรผันโดยตรงกับความต่างศักย์ (แรงดันไฟฟ้า หรือแรงดันตกคร่อม คือกระแสมีค่ามากหรือน้อยตามความต่างศักย์นั้น) เขียนเป็นสมการได้ว่า
สวัสดีครับ เมื่อไม่กี่วันมานี้มีน้องคนนึงมาให้สอนเขียนเกมส์ pacman ด้วยภาษาซี ผมจึงนํา source code มาแบ่งปัน เผื่อใครสนใจ ตัวเกมส์ก็ไม่มีอะไรมากครับเป็น console application มีตัว pacman และตัว bot โง่ๆ 4 ตัว เขียนบน visual studio 2013 ส่วนวิธีการเล่น คือใช้ w, s, a, d เป็นปุ่มบังคับทิศทาง
สวัสดีครับจากบทความตอนที่แล้ว "เริ่มต้นใช้ Docker Swarm" เราได้เรียนรู้พื้นฐานการใช้งาน Docker Swarm กันไปแล้ว ในบทความนี้เราจะมาต่อยอดโดยนํา Docker Compose มาใช้ใน Docker Swarm เพราะในงานจริงเราจะได้ทํางานได้ง่ายและสะดวกขึ้น ก่อนที่จะอ่านบทความนี้ควรจะต้องมีความรู้ในเรื่องของ Docker Swarm และ Docker Compose ก่อน กลับไปอ่านได้ที่นี่