โครงสร้างของภาษาซี

4 Jan 2018

Share to:

โครงสร้างของภาษาซี มีดังนี้

#include <stdio.h>
main(){
    ...
}

โครงสร้างของภาษาซี จะประกอบไปด้วย 3 ส่วนหลักๆ คือ

1.ส่วนหัวของโปรแกรม

ส่วนหัวของโปรแกรม(บรรทัดที่1) จะใช้บอกกับคอมไพเลอร์ว่าจะให้กระทําการใดๆก่อนการแปลผลโปรแกรม ในตัวอย่างนี้คือ การบอกให้คอมไพเลอร์นําเอาเฮดเดอร์ไฟล์ stdio.h เข้าร่วมในการแปลโปรแกรมด้วย รูปแบบคือใช้คําสั่ง

#include <ซื้อเฮดเดอร์ไฟล์>

2.ส่วนของ function หลัก

ในส่วนของ function หลัก จะอยู่ตรงบรรทัดที่ 2 main() ในโปรแกรมภาษาซีทุกโปรแกรมจะต้องมี function นี้ เมื่อโปรแกรมถูกรันขึ้นมาระบบจะทําการเรียก function นี้ขึ้นมารันโดยอัตโนมัติ

3.ส่วนรายละเอียดของโปรแกรม

บรรทัดที่3 ในส่วนนี้คือ ส่วนของโปรแกรมที่เราเขียนขึ้น การทํางานต่างๆของโปรแกรมทั้งหมดจะถูกเขียนไว้ที่นี่

Suggestion blogs

เปลี่ยน Host Name ใน Ubuntu

วิธีเปลี่ยน Host Name ใน ubuntuวิธีเปลี่ยน host name ด้วย command line เราจะต้องแก้ไขไฟล์ config 2 ไฟล์นี้/etc/hostname/etc/hostsขั้นตอนแรกให้เราแก้ไขไฟล์ "/etc/hostname" ก่อน ด้วยคําสั่งนี้

ESP8266 ควบคุม i/o ผ่าน web (Access point)

ในบทความนี้ผมจะอธิบายถึงวิธีการทําให้ ESP8266 เป็น Access point ให้อุปกรณ์อุปกรณ์อื่นๆ ที่เชื่อมต่อ wifi ได้ เช่น computer, smart phone ฯลฯ มาเชื่อมต่อกับ SEP8266 แล้วควบคุม i/o ปิด/เปิด LED ผ่านเว็บ ด้วยวิธีส่งข้อมูลผ่าน HTTP_GET เช่น

ปรับหน้าเว็บเป็นขาวดําด้วย css

ตามที่ทางสำนักพระราชวังได้มีประกาศ เรื่อง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จสวรรคตนั้น อันเป็นเรื่องที่น่าโศกเศร้าสำหรับคนไทย เพื่อเป็นการแสดงความอาลัยตามความเหมาะสม ข้าพเจ้าขอแนะนำวิธีปรับเปลี่ยนหน้าเว็บไซต์ให้อยู่ในรูปแบบขาวดํา ตามความเหมาะสมเพื่อเป็นการไว้ทุกข์


Copyright © 2019 - 2024 thiti.dev |  v1.41.0 |  Privacy policy | 

Build with ❤️ and Astro.

Github profile   Linkedin profile   Instagram   X profile   Youtube channel   Telegram   Email contact   วงแหวนเว็บ