จากในบทความก่อนหน้านี้ นิพจน์จะเป็นชนิดข้อมูลประเภทเดียวกันทั้งหมด แต่ในความเป็นจริงแล้วนิพจน์สามารถประกอบด้วยข้อมูลชนิดที่แตกต่างกันได้ เราจะเรียกว่า mixed type expression แต่หลักการของโอเปอเรเตอร์นั้น โอเปแรนด์ที่จะนํามาดําเนินการด้วยโอเปอเรเตอร์จะต้องมีชนิดข้อมูลที่เหมือนกัน ภาษาซีจึงมีกฎที่จัดการนิพจน์เหล่านี้อยู่ 2 ประเภท คือ implicit type conversion และ explicit type conversion
implicit type conversion คือ คอมไพเลอร์จะแปลงชนิดข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมโดยอัตโนมัติ จะมีกฎการแปลงดังนี้ ถ้าในนิพจน์ประกอบไปด้วยข้อมูลหลายประเภท ภาษาซีจะทําการแปลงชนิดข้อมูลให้โดยอัตโนมัติ โดยชนิดข้อมูลที่มีนัยสําคัญตํ่ากว่าจะถูกแปลงไปเป็นชนิดข้อมูลที่มีนัยสําคัญสูงกว่าเสมอ ลําดับของนัยสําคัญของชนิดข้อมูล แสดงจากนัยสําคัญสูงไปนัยสําคัญตํา
explicit type conversion คือ ผู้เขียนโปรแกรมทําการแปลงชนิดข้อมูลหนึ่งไปเป็นอีกชนิดนึ่งด้วยตัวเอง การแปลงชนิดข้อมูลนี้เรียกอีกอย่างว่า cast ซึ่งทําได้โดยระบุชนิดข้อมูลปลายทางที่ต้องการไว้ในวงเล็บ แล้ววางไว้หน้านิพจน์ที่ต้องการแปลงชนิดข้อมูล
(ชนิดข้อมุลปลายทาง)นิพจน์ที่ต้องการแปลงชนิดข้อมูล
ตัวอย่าง
int a;
(float)a;
สวัสดีครับ ในบทความนี้ก็เป็น EP.10 แล้วนะครับ โดยเนื้อหาจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับ Defer คืออะไร ใช้ทําอะไรสําหรับท่านใดที่ยังไม่ได้อ่าน EP.9 ท่านสามารถกลับไปอ่านก่อนได้นะครับที่นี่ Go EP.9 Go Contextมาเริ่มเรียนรู้ไปด้วยกันตามหัวข้อด้านล่างเลยครับ
error code หรือ status code ที่ server ส่งกลับมาเมื่อเราเปิดเว็บ จะมีความหมายดังนี้
สวัสดีครับ หลังจากที่เราได้เรียนรู้การใช้งาน Arduino ตั้งแต่ติดตั้งโปรแกรม Arduino IDE ไปจนถึง Upload โปรแกรมลง Arduino board ในบทความ Arduino ตอน3 ติดตั้ง Arduino IDE และเริ่มต้นเขียนโปรแกรมแรก กันไปแล้ว ในบทความนี้เราจะลงลึกการเขียนโปรแกรมควบคุม Arduino กันแบบจริงๆจังๆกันครับ โดยจะเน้นไปในส่วนของโครงสร้างของภาษา C++ สําหรับ Arduino