สวัสดีครับ เราจะมาดูวิธีการเพิ่มสินค้าใน WooCommerce Wordpress กันครับ เริ่มกันเลยครับ ให้เข้าไปที่หน้าควบคุมของ Wordpress ก่อนครับ
ในรูปด้านล่างเราจะสนใจสามเมนูดังนี้
สําหรับวิธีการเพิ่มสินค้า ให้คลิกที่เมนู “เพิ่มสินค้า” ได้เลย จะพบกับหน้าจอเพิ่มสินค้า ซึ่งในหน้านี้จะมีอยู่หลายส่วนด้วยกัน ผมจะแบ่งอธิบายเป็นส่วนๆนะครับ
เรามาดูส่วนแรกกันก่อน ส่วนนี้จะประกอบไปด้วย
ส่วนที่สองคือส่วน จัดการข้อมูลของสินค้า เช่น ราคา, ส่วนลด ฯลฯ ซึ่งจะแบ่งออกเป็นแถบ เรามาดูแถบ “ทั่วไป” ก่อน ในแถบนี้จะให้เรากําหนดราคาของสินค้า ถ้าใส่ในช่อง ราคาปกติ อย่างเดียว จะเป็นราคาเต็มปกติ แต่ถ้าใส่ในช่อง ราคาที่ลด สินค้านี้จะขึ้นเป็นราคาเต็ม และราคาที่ลดแล้ว
แถบต่อไปคือ แถบ “สินค้าคงคลัง” มาดูความหมายของแต่ละหัวข้อดังนี้
ในกรณี่เราติ๊กที่ Checkbox “จัดการคลังสินค้า” จะมีช่องสําหรับใส่รายละเอียดเพื่มเติมดังรูป แต่ละช่องมีความหมายดังนี้
ส่วนที่สาม จะเป็นส่วนของการระบุคําอธิบายสินค้าอย่างย่อๆ
ส่วนที่สี่ รูของสิ้นค้า โดยจะแบ่งเป็นสองส่วนคือ
ส่วนที่ห้า เป็นส่วนที่ใช้ระบุว่าสินค้านี้อยู่ในหมวดไหน และมี tag หรือป้ายกํากับเป็นอะไรบ้าง tag หรือ ป้ายกํากับ คือ จะคล้ายๆกับ ติด tag ของ Facebook ครับ
ตําแหน่งของแต่ละส่วนจะแสดงบนหน้าสินค้าตามรูปครับ
เมื่อเรากด ปุ่ม เผยแพร่ หรือ บันทึกฉบับร่าง รายการสินค้านี้จะถูกเพิ่มไปยังหน้า สินค้า สามารถกดเข้าไปดูได้ที่เมนู “สินค้า” จะได้ออกมาประมาณนี้
บทความนี้จะเกี่ยวข้องกับการ Config Linux Firewall ให้สามารถใช้งาน Docker swarm ได้ ถ้าไม่ได้ Config เราจะเจอกับ Error นี้ "Timeout was reached before node was joined. The attempt to join the swarm will continue in the background. Use the "docker info" command to see the current swarm status of your node." ในขั้นตอนการ Join Swarm เพราะว่า Docker Swarm ใช้งาน port ดังต่อไปนี้
การคํานวณหาค่าคามต้านทานในวงจรผสม(ทั้งขนาน และอนุกรมรวมกันในวงจร) นั้นสามารถทําได้โดยยุบวงจรไปทีละส่วนไปเรื่อยๆ จนได้ค่าความต้านทานรวมทั้งหมด ถ้ายังนึกภาพไม่ออก มาดูตามตัวอย่างนี้ได้เลยครับ ตัวอย่าง ถ้าต้องการหาค่าความต้านทานรวม(RT) ของวงจรนี้
สวัสดีครับ ปกติแล้วเมื่อต้องการจะควบคุม Raspberry Pi เราก็จะต้องเชื่อมต่อ Raspberry Pi เข้ากับ Network แล้ว SSH ไปที่ Raspberry Pi แต่วันนี้เราจะมาใช้งาน SSH ผ่าน USB โดยไม่ต้องไปเชื่อมต่อกับ Network ให้ยุ่งยากวุ่นวาย เพียงแค่เรามีสาย USB เพียงเส้นเดียวก็สามารถ SSH เพื่อควบคุม Raspberry Pi ได้