HTTP status codes

21 Feb 2017,
Share: 

error code หรือ status code ที่ server ส่งกลับมาเมื่อเราเปิดเว็บ จะมีความหมายดังนี้

  • 100 Continue (100 ดำเนินการต่อ)
  • 101 Switching Protocols (101 สลับโปรโตคอล)
  • 200 OK (200 โอเค)
  • 201 Created (201 สร้างแล้ว)
  • 202 Accepted (202 ยอมรับแล้ว)
  • 203 Non-Authoritative Information (203 ข้อมูลที่ไม่ผ่านการอนุญาต)
  • 204 No Content (204 ไม่มีเนื้อหา)
  • 205 Reset Content (205 รีเซ็ตเนื้อหา)
  • 206 Partial Content (206 เนื้อหาบางส่วน)
  • 300 Multiple Choices (300 หลายตัวเลือก)
  • 301 Moved Permanently (301 ถูกย้ายถาวร)
  • 302 Moved Temporarily (302 ถูกย้ายชั่วคราว)
  • 303 See Other (303 ดูอื่นๆ)
  • 304 Not Modified (304 ไม่ได้แก้ไข)
  • 305 Use Proxy (305 ใช้พร็อกซี่)
  • 400 Bad Request (400 คำขอไม่เหมาะสม)
  • 401 Authorization Required (401 ต้องได้รับอนุญาต)
  • 402 Payment Required (402 ต้องชำระเงิน)
  • 403 Forbidden (403 ถูกห้าม)
  • 404 Not Found (404 ไม่พบ)
  • 405 Method Not Allowed (405 วิธีการไม่ได้รับอนุญาต)
  • 406 Not Acceptable (406 ไม่สามารถยอมรับได้)
  • 407 Proxy Authentication Required (407 ต้องรับรองความถูกต้องของพร็อกซี่)
  • 408 Request Time-Out (408 คำขอหมดเวลา)
  • 409 Conflict (409 ขัดแย้ง)
  • 410 Gone (ไม่มีอยู่)
  • 411 Length Required (411 ต้องกำหนดความยาว)
  • 412 Precondition Failed (412 ข้อกำหนดขั้นต้นล้มเหลว)
  • 413 Request Entity Too Large (413 ชื่อคำขอใหญ่เกินไป)
  • 414 Request-URL Too Large (414 URL คำขอใหญ่เกินไป)
  • 415 Unsupported Media Type (415 ประเภทสื่อไม่สนับสนุน)
  • 500 Server Error (500 ข้อผิดพลาดของเซิร์ฟเวอร์)
  • 501 Not Implemented (501 ไมได้นำไปใช้)
  • 502 Bad Gateway (502 เกตเวย์ไม่เหมาะสม)
  • 503 Out of Resources (503 ทรัพยากรไม่เพียงพอ)
  • 504 Gateway Time-Out (504 หมดเวลาเกตเวย์)
  • 505 HTTP Version not supported (505 เวอร์ชัน HTTP ไม่สนับสนุน)
  • 506 Variant Also Negotiates
  • 507 Insufficient Storage (WebDAV)
  • 509 Bandwidth Limit Exceeded (Apache bw/limited extension)
  • 510 Not Extended

ข้อมูลจาก www.thaiseoboard.com

Suggestion blogs

Unix Epoch คืออะไร

Timestampมาดูเรื่อง Timestamp ก่อนนะครับ Timestamp ก็คือข้อมูลที่บอกว่าเหตุการใดเหตุการหนึ่ง เกิดขึ้นเมื่อไร เช่น เวลาเราไปฝากเงินหรือถอนเงินจากธนาคาร จะมีวันที่และเวลาที่เราทํารายการระบุอยู่ด้วย โดยทั่วไป Timestamp จะเก็บเป็นวันที่และเวลา หรือขึ้นอยู่กับความต้องการของระบบ

Flutter EP.2 ภาษา Dart

สวัสดีครับ หลังจาก EP.1 เราได้เรียนรู้การ Install และสร้าง Project กันไปแล้ว ในบทความนี้ก็เป็น EP.2 แล้วนะครับ จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับ ภาษา Dart ซึ่งเป็นเนื้อหาที่จําเป็นในการพัฒนา Mobile application ด้วย Flutter

เริ่มต้นใช้ Docker Swarm

ในบทความที่แล้ว (Docker Swarm คืออะไร) ผมได้อธิบายไปแล้วว่า Docker Swarm คืออะไร และการใช้งานแบบคร่าวๆ สําหรับในบทความนี้ผมจะมาทดลองให้ดูว่าเมื่อนํา Docker Swarm มาใช้งานแล้วจะเป็นอย่างไรบ้าง ก่อนอื่นมาดูกันก่อนว่าคําสั่งพื้นฐานของ Docker Swarm ที่จะต้องใช้มีอะไรบ้าง


Copyright © 2019 - 2025 thiti.dev |  v1.51.0 |  Privacy policy | 

Build with ❤️ and Astro.

Github profile   Linkedin profile   Instagram   X profile   Nostr   Youtube channel   Telegram   Email contact   วงแหวนเว็บ