ในบทความนี้ จะอธิบายเกี่ยวกับการ calibration จอ touchscreen ของ raspberry pi โดยจอ touchscreen ที่ใช้คือ Raspberry Pi 7” Touchscreen Display มาเริ่มกันเลยครับ
ติดตั้ง xinput calibrator ด้วยคําสั่ง
sudo apt-get install xinput-calibrator
run xinput calibrator โดยใช้คําสั่ง
xinput_calibrator
จะมีหน้าจอสําหรับ calibrate ขึ้นมา ให้กดตามจุดในโปรแกรม
เมื่อกดครบแล้วจะแสดงรายละเอียดของค่า config ให้ copy ไว้(กรอบสีแดง)
Update X11 evdev configuration โดยใช้คําสั่งนี้
sudo nano /usr/share/X11/xorg.conf.d/10-evdev.conf
นําค่า config ที่ได้จาก ขั้นตอนที่ 2 เพิ่มเข้าไปตรง touchscreen InputClass
Option "Calibration" "85 726 4 484"
save โดยกด Ctrl+x แล้วตามด้วย y แล้ว enter reboot raspberry pi เสร็จ…
ที่มาของรูปภาพ และข้อมูล swag.raspberrypi.org www.thefanclub.co.za
สวัสดีครับ ในบทความนี้จะเกี่ยวกับ Peer dependencies ใน npm ครับ
ความเป็นมาของ LEDLED ได้ถูกนํามาใช้ในแผงวงจรครั้งแรกเมื่อปี 1962 ซึ่งในตอนนั้น LED จะให้ความเข้มของแสงไม่มากนัก และมีเฉพาะ ความถี่ในช่วงแสง infrared ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า มักจะใช้กับอุปกรณ์ประเภทรีโมทคอนโทรลต่างๆ ต่อมา LED ถูกพัฒนาขึ้นมาเรื่อยๆจนสามารถเปล่งแสงได้ครอบคุมตั้งแต่ย่าน infrared แสงที่มองห็นไปจนถึงย่าน ultra violet หรือ UV ในปัจจุบัน LED ถูกพัฒนาจนมีความเข้มของแสงสูงมาก และสามารถให้แสงสีขาวได้ จนสามารถนํามาใช้แทนหลอดไฟส่องสว่างที่มีใช้อยู่ในปัจจุบัน
ก่อนที่จะรู้จัก Arduino เรามาทําความรู้จักกับ Microcontroller และ Open source กันก่อน ซึ่งผมจะอธิบายไปทีละตัวดังนี้