Review ไฟฉาย Olight sMini limited edition

13 Feb 2017

Share to:

ไฟฉาย Olight sMini limited edition เป็นรุ่นที่มีขนาดเล็ก ใส่แบตเตอรี่ CR123 ยาวเพียง 5.45 ซม มาดูคุณสมบัติกันครับ

  • ยี่ห้อ : Olight
  • รุ่น : sMini
  • ชนิดหลอด: Cree  XM-L2 cool white
  • อายุหลอด: 5 หมื่นชั่วโมง
  • ให้ความสว่างสูงสุด: 550 ANSI ลูเมนส์  (ทดสอบด้วยแบต CR123 3.0V)
  • ระดับความสว่าง : สูง 550 ลูเมนส์ 1.5+120 นาที., กลาง 60 ลูเมนส์ 8:30 ชม., ต่ำ 12 ลูเมนส์ 64 ชม, ประหยัด 0.5 ลูเมนส์ 30 วัน (ทดสอบด้วยแบต CR123 3.0V 1600mA)
  • ชนิดแบตตอรี่:  CR123 x 1 ก้อน หรือ RCR123 (3.7v) x 1 ก้อน
  • ลักษณะสวิทซ์เปิดปิด: สวิทซ์ตรงคอไฟฉาย
  • ลักษณะโคมสะท้อนแสง: เลนส์ PMMA TIR
  • ระยะส่อง: แสงพุ่งไกล 110 เมตร  ลักษณะแสงกว้าง ครอบคลุมพื้นที่
  • ชนิดเลนส์: เลนส์ PMMA TIR
  • ขนาด: กระบอก 2.1 ซม. ยาว 5.45 ซม
  • มาตราฐานกันน้ำ: IPX-8
  • กันกระแทก: 1.5 เมตร

วิธีใช้งาน

วิธีเปิดปิดความสว่าง 1. กดสวิทซ์แล้วปล่อยหนึ่งครั้งเปิด กดแล้วปล่อยอีกครั้งเปิด วิธีปรับความสว่าง 1. ปรับความสว่างโดย กดสวิทซ์ตรงคอไฟฉายค้างไว้  ระดับแสงจะเปลี่ยนไปเรื่อยๆ  เมื่อถึงระดับแสงที่ต้องการให้ปล่อยปุ่ม วิธีเลือกระดับแสงเทอร์โบทันที 1. ไฟฉายอยู่สถานะปิด 2. กดปุ่มสองครั้งแล้วปล่อย ไฟฉายจะเข้าสู่โหมดกระพริบ วิธีเลือกจังหวะกระพริบ 1. ไฟฉายอยู่สถานะเปิด 2. กดปุ่มสองครั้งแล้วปล่อย ไฟฉายจะเข้าสู่โหมดกระพริบ วิธีเลือกโหมดแสงจันทร์ 1. ไฟฉายอยู่สถานะปิด 2. กดปุ่มค้าง ไฟฉายจะเปิดที่โหมดแสงจันทร์  (แสงจะหรี่มาก)

Image

กล่องออกแบบมาเรียบหรูดูดี

Image

ภายในกล่อง

Image

รูปในมุมต่างๆ

Image

Image

Image

Image

Image

Image

Image

Image

สรุปโดยร่วมถือว่าโอเคเลยครับ สวยงาม เล็กแต่แรงใช้ได้เลย แต่มีข้อเสียคือ เรื่องความร้อนมันร้อนมากๆ และเมื่อในกับแบตเตอรี่ที่มีวงจรบางยี่ห้ออาจจะตัดได้ เนื่องจากตัวนี้กินกระแสค่อนข้างสูงเลยทีเดียว

Suggestion blogs

การใช้ Real time clock กับ Raspberry pi

ใน Raspberry pi จะไม่มี Real Time Clock มาให้ เมื่อเราปิดเครื่อง หรือไม่มีไฟฟ้าจ่ายให้กับ Raspberry pi วันที่และเวลาของเครื่องจะไม่เป็นปัจจุบัน วิธีที่จะทําให้เวลาของเครื่องเป็นวันที่ปัจจุบันมีด้วยกัน 2 วิธี ดังนี้ใช้ NTP server (จะต้องเชื่อมต่อกับเครือขาย internet)ใช้ Real time clock (ไม่ต้องเชื่อมต่อกับเครือขาย internet)ในบทความนี้เราจะอธิบายวิธีใช้ Real time clock เป็นฐานเวลาให้กับ Raspberry pi ก่อนอื่นมารู้จักกันก่อนว่ามันคืออะไร Real time clock เป็น module ฐานเวลา เนื่องจากตัว module ใช้พลังงานจากถ่านกระดุมขนาดเล็กทําให้ตัว module ทํางานอยู่ตลอดเวลาแม้ไม่ได้จ่ายไฟเลี้ยง

ทําความรู้จักกับ Neo Pixel WS2812B

Neo Pixel WS2812B  คืออะไร?Neo Pixel WS2812B คือ หลอด LED ที่มีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยมแบนๆ ภายในจะประกอบไปด้วย Chip เบอร์ WS2812B และ LED ขนาดเล็กๆ 3 สี คือ RGB (Red, Green, Blue) โดยที่ Chip WS2812B จะทําหน้าที่ควบคุมการผสมสีของ LED RGB ให้เป็นสีต่างๆได้ถึง 16 ล้านสี หน้าตาจะประมาณรูปด้านล่าง

เริ่มต้นใช้งาน IPFS ด้วย Docker

สวัสดีครับ ในบทความนี้ผมจะอธิบายการใช้งาน IPFS ด้วย Docker ซึ่งการใช้งาน IPFS ด้วย Docker นั้นเป็นแนวทางนึงในการใช้งาน IPFS สําหรับใครที่อยากจะติดตั้งบนเครื่องก็สามารถอ่านเพิ่มเติมได้จาก Document ของ IPFS ได้เลยครับ แต่โดยส่วนตัวของผมนั้น ผมชอบที่จะใช้ผ่าน Docker เนื่องจากไม่ต้องติดตั้ง IPFS บนเครื่องของเรา ถ้าใครยังไม่รู้จัก Docker สามารถไปอ่านบนความเก่าๆได้ครับที่นี่ https://thiti.dev/tags/docker


Copyright © 2019 - 2024 thiti.dev |  v1.19.0 |  Privacy policy |  status | 

            วงแหวนเว็บ