Review ไฟฉาย IMALENT DN70

19 Dec 2017

Share to:

ไฟฉาย IMALENT รุ่น DN70 เป็นไฟฉายขนาด ไม่เล็กและไม่ใหญ่จนเกินไป แต่ให้ความสว่างสูงถึง 3,800 Lumens แสงพุ่งไกล 325 เมตร ใช้ถ่านชาร์จลิเธี่ยมขนาด 26650 3.7V เพียงก้อนเดียว(มีแถมให้ในตัวไฟฉาย) สามารถชาร์จได้ด้วย Micro USB

มาดูรีวิวไฟฉาย IMALENT รุ่น DN70

สนใจสั่งซื้อได้ที่นี่ครับ คุณสมบัติทั่วไปของไฟฉาย IMALENT รุ่น DN70

Image

Mode การทํางานของ ไฟฉาย IMALENT รุ่น DN70

Image

ระยะส่องได้ไกลสุด 325 เมตร

Image

ไฟฉาย IMALENT รุ่น DN70 มีระบบป้องกันความร้อนสูงเกิดไป โดยจะมีการแจ้งเตือนและ ลดความสว่างลงเหลือ 900 Lumens เมื่ออุณหภูมิตัวไฟฉาย 50 องศา

Image

ภายในตัวไฟฉาย Built-in ช่องชาร์จ USB โดยขณะชาร์จจะมีสัญลักษณ์การชาร์จกระพริบที่จอ OLED เมื่อชาร์จเต็มแล้วจะดับ

Image

แบตเตอรี่ที่ใช้เป็นชนิด Li-ion 26650 ความจุ 4500mAh

Image

ไฟฉายมาพร้อมกล่อง package อย่างดี และอุปกรณ์มาตรฐานที่ให้มาประกอบด้วย ซองไนล่อนอย่างดี,สายชาร์จ USB,ยางโอริงสำรอง,คู่มือการใช้งานและถ่านชาร์จ 26650

Image

ใช้โคมสะท้อนอลูมิเนียมผิวเปลือกส้มคุณภาพสูงร่วมกับกระจกชนิด Ultra-clear ชนิดต้านรอยขีดข่วน ทำให้ได้ output แสงที่กว้างและสว่างอย่างมีประสิทธิภาพ

Image

Turbo 3800 ลูเมนส์ สามารถกดเปิดใช้งานได้ผ่านปุ่มกดด้านซ้าย โดยการกดค้างไว้อย่างน้อย 2 วินาที

Image

โดยรวมแล้วไฟฉายตัวนี้มีขนาดเล็ก ให้ความสว่างมากจริงๆ แต่ก็ต้องแลกมาด้วยความร้อนที่มากด้วยเช่นกัน ลักษณะลําแสงจะให้แสงที่กว้างไม่พุ่งครับ สนใจสั่งซื้อได้ที่นี่ครับ

Suggestion blogs

ซีเนอร์ไดโอด (ZENER DIODE)

ซีเนอร์ไดโอด (ZENER DIODE)ซีเนอรร์ไดโอด เป็นไดโอดชนิดหนึ่งที่มีโครงสร้างเหมือนไอโอด คือมีสารกึ่งตัวนําชนิด P และ N มีขาสองขาเช่นเดียวกัน A และ K ความแตกต่างของ ซีเนอร์ไอโอด กับ ไดโอดธรรมดาคือ กระบวนการผลิตซีเนอร์ไอโอด จะเติมสารเจือปนลงไปในธาตุซิลิกอนมีจำนวนน้อยและจำนวนมากกว่าปรกติ พร้อมกับขบวนการผลิตเฉพาะ จึงได้ซีเนอร์ไดโอดขึ้นมาใช้งาน

การใช้งาน Neo Pixel WS2812B กับ Raspberry pi2

ในบทความที่แล้ว เราทำความรู้จักกับ Neo Pixel WS2813 กันไปแล้ว วันนี้ผมจะมาแนะนำเรื่อง การนำ Raspberry Pi2 มาควบคุม Neo Pixel WS2812B

Configure the Linux Firewall for Docker Swarm on Ubuntu

บทความนี้จะเกี่ยวข้องกับการ Config Linux Firewall ให้สามารถใช้งาน Docker swarm ได้ ถ้าไม่ได้ Config เราจะเจอกับ Error นี้ "Timeout was reached before node was joined. The attempt to join the swarm will continue in the background. Use the "docker info" command to see the current swarm status of your node." ในขั้นตอนการ Join Swarm เพราะว่า Docker Swarm ใช้งาน port ดังต่อไปนี้


Copyright © 2019 - 2024 thiti.dev |  v1.34.0 |  Privacy policy | 

Build with ❤️ and Astro.

Github profile   Linkedin profile   Instagram   X profile   Youtube channel   Telegram   Email contact   วงแหวนเว็บ